แผ่เมตตาให้ตนเอง อะหัง สุขิโต โหมิ.....................ขอให้ข้าพเจ้ามีความสุข อะหัง นิททุกโข โหมิ................ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากทุกข์ อะหัง อะเวโร โหมิ....................ขอให้ข้าพเจ้าอย่ามีเวรภัย อะหัง อัพ๎ยาปัชโฌ โหมิ............ขอให้ข้าพเจ้าอย่ามีใครรังแกเบียดเบียน อะหัง อะนีโฆ โหมิ....................ขอให้ข้าพเจ้าอย่ามีความทุกข์กายทุกข์ใจ อะหัง สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ....ข้าพเจ้าจะรักษาตนให้เป็นสุข .....แผ่เมตตาไปทั่วสารทิศ * สรรพสัตว์ทั้งหลาย มนุษย์หญิงและชายทั้งหลาย ทวยเทพเทวดาทั้งหลาย พระอินทร์ พระพรหม ยมยักษ์ทั้งหลาย ภูตผีทั้งหลาย สัตว์นรกทั้งหลาย เปรต อสุรกาย ทั้งหลาย สัตว์เดียรฉานทั้งหลาย ที่อยู่ ทิศตะวันออก จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่ามีเวร ต่อกัน อย่าผูกพยาบาทอาฆาตกัน อย่าเบียดเบียนกัน อย่าข่มเหงรังแกกัน อย่ามีความ ทุกข์กายทุกข์ใจ จงรักษาตนให้เป็นสุขเถิด * สรรพสัตว์ทั้งหลาย มนุษย์หญิงและชายทั้งหลาย ทวยเทพเทวดาทั้งหลาย พระอินทร์ พระพรหม ยมยักษ์ทั้งหลาย ภูตผีทั้งหลาย สัตว์นรกทั้งหลาย เปรต อสุรกาย ทั้งหลาย สัตว์เดียรฉานทั้งหลาย ที่อยู่ ทิศใต้ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่ามีเวรต่อกัน อย่าผูกพยาบาทอาฆาตกัน อย่าเบียดเบียนกัน อย่าข่มเหงรังแกกัน อย่ามีความ ทุกข์กายทุกข์ใจ จงรักษาตนให้เป็นสุขเถิด * สรรพสัตว์ทั้งหลาย มนุษย์หญิงและชายทั้งหลาย ทวยเทพเทวดาทั้งหลาย พระอินทร์ พระพรหม ยมยักษ์ทั้งหลาย ภูตผีทั้งหลาย สัตว์นรกทั้งหลาย เปรต อสุรกาย ทั้งหลาย สัตว์เดียรฉานทั้งหลาย ที่อยู่ ทิศตะวันตก จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่ามีเวร ต่อกัน อย่าผูกพยาบาทอาฆาตกัน อย่าเบียดเบียนกัน อย่าข่มเหงรังแกกัน อย่ามีความ ทุกข์กายทุกข์ใจ จงรักษาตนให้เป็นสุขเถิด * สรรพสัตว์ทั้งหลาย มนุษย์หญิงและชายทั้งหลาย ทวยเทพเทวดาทั้งหลาย พระอินทร์ พระพรหม ยมยักษ์ทั้งหลาย ภูตผีทั้งหลาย สัตว์นรกทั้งหลาย เปรต อสุรกาย ทั้งหลาย สัตว์เดียรฉานทั้งหลาย ที่อยู่ ทิศเหนือ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่ามีเวรต่อกัน อย่าผูกพยาบาทอาฆาตกัน อย่าเบียดเบียนกัน อย่าข่มเหงรังแกกัน อย่ามีความ ทุกข์กายทุกข์ใจ จงรักษาตนให้เป็นสุขเถิด * สรรพสัตว์ทั้งหลาย มนุษย์หญิงและชายทั้งหลาย ทวยเทพเทวดาทั้งหลาย พระอินทร์ พระพรหม ยมยักษ์ทั้งหลาย ภูตผีทั้งหลาย สัตว์นรกทั้งหลาย เปรต อสุรกายทั้งหลาย สัตว์เดรัจฉานทั้งหลาย ตลอดถึงเพื่อนร่วมโลกในวัฏฏสงสารทั้งหมด ทั้งสิ้น ทั่วทุกสารทิศ ตลอดโลก โดยรอบสุดขอบจักรวาล อนันตจักรวาล ทั้ง ๓๑ ภพภูมิ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่ามีเวรต่อกัน อย่าผูกพยาบาทอาฆาตกัน อย่าเบียดเบียนกัน อย่าข่มเหงรังแกกัน อย่ามีความทุกข์กายทุกข์ใจ จงรักษาตนให้เป็นสุขเถิด. ..แผ่เมตตาให้สรรพสัตว์ สัพเพ สัตตา ขอให้สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิดแก่เจ็บตาย ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น อะเวรา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรซึ่งกันและกันเลย อัพ๎ยาปัชฌา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้พยาบาทเบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย อะนีฆา โหนตุ จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ จงมีความสุขกายสุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด ท่านทั้งหลายที่ท่านได้ทุกข์ ขอให้พ้นจากทุกข์ ท่านทั้งหลายที่ท่านได้สุข ขอให้สุขยิ่งๆ ขึ้นไป สัพเพ สัตตา สัตว์ทั้งหลายที่เกิดเป็นชะลาพุชะ ที่เกิดเป็นอัณฑะชะ ที่เกิดเป็นสังเสทะชะ ที่เกิดเป็นโอปปาติกะ จงมารับเอากุศลผลบุญให้ถ้วนทั่วทุกตัวสัตว์เถิด. คำแผ่เมตตาแบบทิสาผะระณา (๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพ๎ยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ, ขอให้สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ที่อยู่ใน ทิศตะวันออก จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีความทุกข์ จงมีความสุข รักษาตนให้พ้นจาก ทุกข์ภัยทั้งหลายทั้งปวงเถิด, (๒) สัพเพ ปัจฉิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพ๎ยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ, ขอให้สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ที่อยู่ใน ทิศตะวันตก จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีความทุกข์ จงมีความสุข รักษาตนให้พ้นจาก ทุกข์ภัยทั้งหลายทั้งปวงเถิด, (๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพ๎ยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ, ขอให้สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ที่อยู่ใน ทิศเหนือ จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีความทุกข์ จงมีความสุข รักษาตนให้พ้นจาก ทุกข์ภัยทั้งหลายทั้งปวงเถิด, (๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพ๎ยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ, ขอให้สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ที่อยู่ใน ทิศใต้ จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีความทุกข์ จงมีความสุข รักษาตนให้พ้นจาก ทุกข์ภัยทั้งหลายทั้งปวงเถิด, (๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพ๎ยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ, ขอให้สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ที่อยู่ใน ทิศตะวันออกเฉียงใต้ จงอย่ามีเวร ต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีความทุกข์ จงมีความสุข รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งหลายทั้งปวงเถิด, (๖) สัพเพ ปัจฉิมายะ อนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพ๎ยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ, ขอให้สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ที่อยู่ใน ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ จงอย่ามีเวร ต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีความทุกข์ จงมีความสุข รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งหลายทั้งปวงเถิด, (๗) สัพเพ อุตตะรายะ อนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพ๎ยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ, ขอให้สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ที่อยู่ใน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ จงอย่ามีเวร ต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีความทุกข์ จงมีความสุข รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งหลายทั้งปวงเถิด, (๘) สัพเพ ทักขิณายะ อนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพ๎ยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ, ขอให้สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ที่อยู่ใน ทิศตะวันตกเฉียงใต้ จงอย่ามีเวร ต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีความทุกข์ จงมีความสุข รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งหลายทั้งปวงเถิด, (๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ อนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพ๎ยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ, ขอให้สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ที่อยู่ใน ทิศเบื้องล่าง จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีความทุกข์ จงมีความสุข รักษาตนให้พ้นจาก ทุกข์ภัยทั้งหลายทั้งปวงเถิด, (๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ อนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพ๎ยาปัชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ, ขอให้สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ที่อยู่ใน ทิศเบื้องบน จงอย่ามีเวรต่อกันและกัน จงอย่าเบียดเบียนกัน จงอย่ามีความทุกข์ จงมีความสุข รักษาตนให้พ้นจาก ทุกข์ภัยทั้งหลายทั้งปวงเถิด. บทแผ่ส่วนกุศล ๗ ประการ อิทัง เม มาตาปิตุนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ มาตาปิตะโร ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่มารดาบิดาของข้าพเจ้า ขอให้มารดาบิดาของข้าพเจ้าจงมีความสุข อิทัง เม ญาตินัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า ขอให้ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้าจงมีความสุข อิทัง เม คุรุปัชฌายาจริยานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ คุรุปัชฌายาจริยา ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ของข้าพเจ้า ขอให้ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ของข้าพเจ้าจงมีความสุข อิทัง สัพพะ เทวะตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เทวา ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เทวดาทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เทวดาทั้งหลายทั้งปวงจงมีความสุข อิทัง สัพพะ เปตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เปตา ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เปรตทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เปรตทั้งหลายทั้งปวงจงมีความสุข อิทัง สัพพะ เวรีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เวรี ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวงจงมีความสุข อิทัง สัพพะ สัตตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ สัตตา ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ขอให้สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงจงมีความสุขทั่วหน้ากันเทอญ. กรณียเมตตสูตร .... กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ ........ ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ, สักโก อุชู จะ สุหุชู จะ .................. สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี. สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ ............. อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ, สันตินท๎ริโย จะ นิปปะโก จะ .......... อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ. นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ ....... เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง, สุขิโน วา เขมิโน โหนตุ ................ สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา. .... เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ ............... ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา, ทีฆา วา เย มะหันตา วา ............... มัชฌิมา รัสสะกา อะณุกะถูลา. ทิฎฐา วา เย จะ อะทิฏฐา .............. เย จะ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร, ภูตา วา สัมภะเวสี วา ................... สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา. นะ ปะโร ปะรัง นิกุพเพถะ ............. นาติมัญเญถะ กัตถะจิ นัง กิญจิ, พ๎ยาโรสะนา ปะฏีฆะสัญญา .......... นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ. มาตา ยะถา นิยัง ปุตตัง ............... อายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข, เอวัมปิ สัพพะภูเตสุ ...................... มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง. .... เมตตัญจะ สัพพะโลกัส๎มิง ........ มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง, อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ ............... อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปัตตัง. ติฏฐัญจะรัง นิสินโน วา ................. สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ, เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ ................ พ๎รัห๎มะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ. ทิฎฐิญจะ อะนุปะคัมมะ .................. สีละวา ทัสสะเนนะ สัมปันโน, กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง ..................... นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติ. .... เขมี อะนีฆา สุระตา จะ สันโต อะนาตุราโถ สุขิตา อะเวรี เทวามะนุสสา จะ ปะชา จะ เสรี ภัท๎รานุปัสสี จะ สะทา ภะวันตัง ฯ คำแปล ขอเทพเจ้าเหล่ามนุษย์ และสรรพสัตว์ทั้งหลาย จงเป็นผู้อยู่อย่างเกษม เป็นผู้ไม่เดือดร้อน ไม่อาดูร อยู่เป็นสุขปราศจากเวรภัย ขอท่านทั้งหลาย จงเป็นอิสระ จงเป็นผู้ได้พบเห็นแต่สิ่งที่ดีงามทุกเมื่อเทอญ ฯ จุลลไชยยปกรณ์ สุโข พุทธานัง อุปปาโท สุขา สัทธัมมะเทสะนา สุขา สังฆัสสะ สามัคคี สามัคคานัง ตะโป สุโข ทิวา ตะปะติ อาทิจโจรัตติง อาภาติ จันทิมา สันนัทโธ ขัตติโย ตะปะติฌายี ตะปะติพ๎ราห๎มะโณ อะถะ สัพพะมะโหรัตติง พุทโธตะปะติ เตชะสา หิริโอตตัปปะ สัมปันนา สุกกา ธัมมา สะมาหิตา สันโต สัปปุริสา โลเก เทวาธัมมาติ วุจจะเร สันติปักขา อะปัตตะนา สันติปาทา อะวัญจะนา มาตาปิตา จะ นิกขันตา ชาตะ เวทะ ปะติกกะมะ สุวัณณะภูมิง คันต๎วานะ โสนุตตะรา มะหิทธิกา ปิสาเจ นิททะมิต๎วานะ พ๎รัห๎มะชาลัง อาเทเสยยุง เอเต สัพเพ ยักขา ปะลายันตุ, อากาสัฏฐา จะ ภุมมัฏฐา เทวะนาคา มะหิทธิกา ปุญญัง โน อะนุโมทันตุ, จิรัง รักขันตุ “สาสะนัง” อากาสัฏฐา จะ ภุมมัฏฐา เทวะนาคา มะหิทธิกา ปุญญัง โน อะนุโมทันตุ, จิรัง รักขันตุ “ปาณิโน” อากาสัฏฐา จะ ภุมมัฏฐา เทวะนาคา มะหิทธิกา ปุญญัง โน อะนุโมทันตุ, จิรัง รักขันตุ “โนสะทา” อากาสัฏฐา จะ ภุมมัฏฐา เทวะนาคา มะหิทธิกา ปุญญัง โน อะนุโมทันตุ, โสตถิง คัจฉันตุ เทวะตาคะตา. นโมเม นะโม เม พุทธะเตชะสา ระตะนัตตะยะธัมมิกา เตชะปะสิทธิปะสีเทวา นารายะ ปะระเมศะวะรา สิทธิพ๎รห๎มา จะ อินทา จะ จะตุโลกาภิรักขะกา สะมุททา ภูตะคังคา จะ สัพพะชัยยะปะสิทธิ ภะวันตุ เต, ชัยยะ ชัยยะ ธอระณิ ธอระณี อุทะธิ อุทะธี นะทิ นะที, ชัยยะ ชัยยะ คัคคะนะตะละนิสะยะ นิละยะ เสยยะเสละ สุเมรุราชะ พะนะระชี, ชัยยะ ชัยยะ คัมภีระโสพภี นาเคนทะนาคี ปีสา จะ ภูตะกาลี, ชัยยะ ชัยยะ ทุนนิมิตตะโรคี, ชัยยะ ชัยยะ สิงคีสุตทา ฆานะมุขะชา, ชัยยะ ชัยยะ รุณณะมุขะสาตรา, ชัยยะ ชัยยะ จัมปาทินาคะกุระคัณฐะกัง, ชัยยะ ชัยยะ คะชะคะณะตุรังคะณะ สุกะระภูชังคะ สีหะพะยัคฆะทีปา, ชัยยะ ชัยยะ รุณณะมุขะยาต๎รา ชินะ เสนาริปู ปุณะสุตทิระตี, ชัยยะ ชัยยะ สุขา สุขา ชีวี, ชัยยะ ชัยยะ ธอระณีตะเล สะทา สุชัยยะ, ชัยยะ ชัยยะ ธอระณี สานะติ สะทา, ชัยยะ ชัยยะ มังกะระละยา ภะวัคเค, ชัยยะ ชัยยะ วะรุณะ ยักเข, ชัยยะ ชัยยะ รักขะเสสุ ระภูชะเตชา, ชัยยะ ชัยยะ พ๎รห๎มเมนทะคะณา, ชัยยะ ชัยยะ ราชาธิราชะ ชะยัง, ชัยยะ ชัยยะ ปะฐะวิง สัพพัง, ชัยยะ ชัยยะ อะระหันตัง ปัจเจกะพุทธะสาวะกัง, ชัยยะ ชัยยะ มะเหสุรังคะ หะโรหะรินทะเทวา, ชัยยะ ชัยยะ พ๎รห๎มาสุรักโข, ชัยยะ ชัยยะ นาโค วิรุฬหะโก วิรูปักโข จันทิมา ระวิอินโท จะ เวนัตตัยโย จะ กุเวโร วะรุโณปิ จะ อัคคีวาโย จะ ปาชุณ๎โห กุมาโร ธะตะรัฏฐะโก อัฏฐาระสะ มะหาเทวา สิทธิตาปะสะ อาทะโย เอสิโน สาวะกา สัพพา ชัยยะ ราโม ภะวันตุ โน ชัยยะ ธัมโม จะ สังโฆ จะ ทะสะปาโล จะ ชัยยะกัง เอเตนะ ชัยยะ เตเชนะ โสตถี ภะวันตุ โน เอเตนะ พุทธะเตเชนะ โหนตุ โน ชัยยะ มังคะลัง, ชะโยปิ พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาปิมะโต ปะราชะโย อุงโฆ ไสยยุง โพธิมัณเฑ ปะโมทิตา ชัยยะ ตะทา “พ๎รัห๎มะคะณา” มะเหสิโน, ชะโยปิ พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาปิมะโต ปะราชะโย อุงโฆ ไสยยุง โพธิมัณเฑ ปะโมทิตา ชัยยะ ตะทา “อินทะคะณา” มะเหสิโน, ชะโยปิ พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาปิมะโต ปะราชะโย อุงโฆ ไสยยุง โพธิมัณเฑ ปะโมทิตา ชัยยะ ตะทา “เทวะคะณา” มะเหสิโน, ชะโยปิ พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาปิมะโต ปะราชะโย, อุงโฆ ไสยยุง โพธิมัณเฑ ปะโมทิตา ชัยยะ ตะทา “สุปันนะคะณา” มะเหสิโน, ชะโยปิ พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาปิมะโต ปะราชะโย อุงโฆ ไสยยุง โพธิมัณเฑ ปะโมทิตา ชัยยะ ตะทา “นาคะคะณา” มะเหสิโน, ชะโยปิ พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาปิมะโต ปะราชะโย อุงโฆ ไสยยุง โพธิมัณเฑ ปะโมทิตา ชัยยะ ตะทา “สัพพะคะณา” มะเหสิโน, สุณันตุ โภนโต เย เทวา อัส๎มิง ฐาเน อะธิคะตา ทีฆายุกา สะทา โหนตุ สุขิตา โหนตุ สัพพะทา รักขันตุ สัพพะสัตตานัง รักขันตุ ชินะสาสะนัง ยา กาจิ ปัตถะนา เตสัง สัพเพ ปูเรนตุ มะโนระถา ยุตตะกาเล ปะวัสสันตุ วัสสัง วัสสา วะลาหะกา โรคา จุปัททะวา เตสัง นิวาเรนตุ จะ สัพพะทา กายะสุขัง จิตตะสุขัง อาหะรันตุ. (ยะถาระหัง. อิติ จุลลชัยยะ ปะกะระณัง สะมัตถัง นิฏฐิตัง) ปัจจยวิภังควาโร (หันทะ มะยัง ปัจจะยะวิภังคะวาระปาฐัง ภะณามะ เส) ๑. เหตุปัจจะโยติ เหตุ เหตุ สัมปะยุตตะกานัง ธัมมานัง ตัง สะมุฏฐานานัญจะ รูปานัง เหตุปัจจะเยนะ ปัจจะโยติ ฯ ๒. อารัมมะณะปัจจะโยติ รูปายะตะนัง จักขุวิญญาณะธาตุยา ตัง สัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อารัมมะณะปัจจะเยนะ ปัจจะโย, สัททายะตะนัง โสตาวิญญาณะธาตุยา ตัง สัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อารัมมะณะปัจจะเยนะ ปัจจะโย, คันธายะตะนัง ฆานะวิญญาณะธาตุยา ตัง สัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อารัมมะณะปัจจะเยนะ ปัจจะโย, ระสายะตะนัง ชิวหาวิญญาณะธาตุยา ตัง สัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อารัมมะณะปัจจะเยนะ ปัจจะโย, โผฏฐัพพายะตะนัง กายะวิญญาณะธาตุยา ตัง สัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อารัมมะณะปัจจะเยนะ ปัจจะโย, รูปายะตะนัง สัททายะตะนัง คันธายะตะนัง ระสายะตะนัง โผฏฐัพพายะตะนัง มะโนธาตุยา ตัง สัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อารัมมะณะปัจจะเยนะ ปัจจะโย, สัพเพ ธัมมา มะโนวิญญาณะธาตุยา ตัง สัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อารัมมะณะปัจจะเยนะ ปัจจะโย, ยัง ยัง ธัมมา อารัพภะ เย เย ธัมมา อุปปัชชันติ จิตตะเจตะสิกา ธัมมา เต เต ธัมมา เตสัง เตสัง ธัมมานัง อารัมมะณะปัจจะเยนะ ปัจจะโยติ ฯ ๓. อะธิปะติปัจจะโยติ ฉันทาธิปะติ ฉันทาสัมปะยุตตะกานัง ธัมมานัง ตัง สมุฏฐานานัญจะ รูปานัง อะธิปะติปัจจะเยนะ ปัจจะโย, วิริยาธิปะติ วิริยาสัมปะยุตตะกานัง ธัมมานัง ตัง สะมุฏฐานานัญจะ รูปานัง อะธิปะติปัจจะเยนะ ปัจจะโย, จิตตาธิปะติ จิตตาสัมปะยุตตะกานัง ธัมมานัง ตัง สะมุฏฐานานัญจะ รูปานัง อะธิปะติปัจจะเยนะ ปัจจะโย, วิมังสาธิปะติ วิมังสาสัมปะยุตตะกานัง ธัมมานัง ตัง สะมุฏฐานานัญจะ รูปานัง อะธิปะติปัจจะเยนะ ปัจจะโย, ยัง ยัง ธัมมัง คะรุง กัต๎วา เย เย ธัมมา อุปปัชชันติ จิตตะเจตะสิกา ธัมมา เต เต ธัมมา เตสัง เตสัง ธัมมานัง อะธิปะติปัจจะ เยนะ ปัจจะโย ฯ ๔. อะนันตะระปัจจะโยติ จักขุวิญญาณะธาตุ ตัง สัมปะยุตตะกา จะ ธัมมา มะโนธาตุยา ตัง สัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย, มะโนธาตุ ตัง สัมปะยุตตะกา จะ ธัมมา มะโนวิญญาณะธาตุยา ตัง สัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย, โสตะวิญญาณะธาตุ ตัง สัมปะยุตตะกา จะ ธัมมา มะโนธาตุยา ตัง สัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย, ฆานะวิญญาณะธาตุ ตัง สัมปะยุตตะกา จะ ธัมมา มะโนธาตุยา ตัง สัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย, มะโนธาตุ ตัง สัมปะยุตตะกา จะ ธัมมา มะโนธาตุยา ตัง สัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย, ชิวหาวิญญาณะธาตุ ตัง สัมปะยุตตะกา จะ ธัมมา มะโนธาตุยา ตัง สัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย, มะโนธาตุ ตัง สัมปะยุตตะกา จะ ธัมมา มะโนวิญญาณะธาตุยา ตัง สัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย, กายะวิญญาณะธาตุ ตัง สัมปะยุตตะกา จะ ธัมมา มะโนธาตุยา ตัง สัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย, มะโนธาตุ ตัง สัมปะยุตตะกา จะ ธัมมา มะโนวิญญาณะธาตุยา ตัง สัมปะยุตตะกานัญจะ ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย, ปุริมา ปุริมา กุสะลา ธัมมา ปัจฉิมานัง ปัจฉิมานัง กุสะลานัง ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย, ปุริมา ปุริมา กุสะลา ธัมมา ปัจฉิมานัง ปัจฉิมานัง อัพ๎ยากะตานัง ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย, ปุริมา ปุริมา กุสะลา ธัมมา ปัจฉิมานัง ปัจฉิมานัง อะกุสะลานัง ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย, ปุริมา ปุริมา อะกุสะลา ธัมมา ปัจฉิมานัง ปัจฉิมานัง อัพ๎ยากะตานัง ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย, ปุริมา ปุริมา อัพ๎ยากะตา ธัมมา ปัจฉิมานัง ปัจฉิมานัง อัพ๎ยากะตานัง ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย, ปุริมา ปุริมา อัพ๎ยากะตา ธัมมา ปัจฉิมานัง ปัจฉิมานัง กุสะลานัง ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย, ปุริมา ปุริมา อัพ๎ยากะตา ธัมมา ปัจฉิมานัง ปัจฉิมานัง อะกุสะลานัง ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย, เยสัง เยสัง ธัมมานัง อะนันตะรา เย เย ธัมมา อุปปัชชันติ จิตตะเจตะสิกา ธัมมา เต เต ธัมมา เตสัง เตสัง ธัมมานัง อะนันตะระปัจจะเยนะ ปัจจะโย ฯ .......................(ทั้งหมดมี ๒๔ วิภังค์) มูลเหตุแห่งการบัญญัติพระวินัย (หันทะ มะยัง สิกขาปะทะปัญญัตติยา อัตถะวะสะทะสะกัง ภะณามะ เส) เตนะหิ ภิกขะเว ภิกขูนัง สิกขาปะทัง ปัญญาเปสสามิ ทะสะ อัตถะวะเส ปะฏิจจะ, ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะเหตุนั้นแล เราจักบัญญัติสิกขาบทแก่ภิกษุทั้งหลาย, อาศัยอำนาจประโยชน์ ๑๐ ประการ คือ, ๑. สังฆะสุฏฐุตายะ, เพื่อความรับว่าดีแห่งสงฆ์, ๒. สังฆะผาสุตายะ, เพื่อความสำราญแห่งสงฆ์, ๓. ทุมมังกูนัง ปุคคะลานัง นิคคะหายะ, เพื่อข่มบุคคลผู้เก้อยาก, ๔. เปสะลานัง ภิกขูนัง ผาสุวิหารายะ, เพื่ออยู่สำราญแห่งภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รัก, ๕. ทิฏฐะธัมมิกานัง อาสะวานัง สังวะรายะ, เพื่อป้องกันอาสวะอันจะเกิดในปัจจุบัน, ๖. สัมปะรายิกานัง อาสะวานัง ปะฏิฆาตายะ, เพื่อกำจัดอาสวะอันจักบังเกิดในอนาคต, ๗. อัปปะสันนานัง ปะสาทายะ, เพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่เลื่อมใส, ๘. ปะสันนานัง ภิยโยภาวายะ, เพื่อความเลื่อมใสยิ่งของชุมชนที่เลื่อมใสแล้ว, ๙. สัทธัมมัฏฐิติยา, เพื่อความตั้งมั่นแห่งพระสัทธรรม, ๑๐. วินะยานุคคะหายะ, เพื่อถือตามพระวินัย, อิติ,.....ด้วยประการฉะนี้แล. ..........................................(ปฐมปาราชิกกัณฑ์ วินัย ๑/๓๒) สีลุทเทสปาฐะ .............. (หันทะ มะยัง สีลุทเทสะปาฐัง ภะณามะ เส) ภาสิตะมิทัง เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปัสสะตา อะระหะตา สัมมาสัมพุทเธนะ, พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้รู้เห็น, เป็นพระอรหันต์ตรัสรู้เองโดยถูกต้องพระองค์นั้น, ได้ตรัสคำนี้ไว้แล้วว่า, สัมปันนะสีลา ภิกขะเว วิหะระถะ สัมปันนะปาฏิโมกขา, ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย, เธอทั้งหลายจงเป็นผู้มีศีลสมบูรณ์ มีพระปาฏิโมกข์สมบูรณ์, ปาฏิโมกขะสังวะระสังวุตา วิหะระถะ อาจาระโคจะระสัมปันนา, จงเป็นผู้สำรวมแล้วด้วยความสำรวมในพระปาฏิโมกข์, สมบูรณ์ด้วยอาจาระและโคจร คือมารยาทและสถานที่ควรเที่ยวไป, อะณุมัตเตสุ วัชเชสุ ภะยะทัสสาวี สะมาทะยา สิกขะถะ สิกขาปะเทสูติ, จงเป็นผู้มีปรกติเห็นความน่ากลัวในโทษแม้เพียงเล็กน้อย, สมาทานศึกษาสำเหนียกในสิกขาบททั้งหลายเถิด, ตัส๎มาติหัมเหหิ สิกขิตัพพัง, เพราะเหตุนั้นแล, เราทั้งหลายพึงทำความศึกษาสำเหนียกว่า, สัมปันนะสีลา วิหะริสสามะ สัมปันนะปาฏิโมกขา, จักเป็นผู้มีศีลสมบูรณ์ มีพระปาฏิโมกข์สมบูรณ์, ปาฏิโมกขะสังวะระสังวุตา วิหะริสสามะ อาจาระโคจะระสัมปันนา, จักเป็นผู้สำรวมแล้วด้วยความสำรวมในพระปาฏิโมกข์, สมบูรณ์ด้วยอาจาระและโคจร คือมารยาทและสถานที่ควรเที่ยวไป, อะณุมัตเตสุ วัชเชสุ ภะยะทัสสาวี สะมาทายะ สิกขิสสามะ สิกขาปะเทสูติ, จักเป็นผู้มีปรกติเห็นความน่ากลัวในโทษแม้เพียงเล็กน้อย, สมาทานศึกษาสำเหนียกในสิกขาบททั้งหลาย, เอวัญหิ โน สิกขิตัพพัง, เราทั้งหลาย, พึงทำความศึกษาสำเหนียกอย่างนี้แล. ตายนสูตร (หันทะ มะยัง ตายะนะสุตตะคาถาโย ภะณามะ เส) ฉินทะ โสตัง ปะรักกัมมะ กาเม ปะนูทะ พ๎ราห๎มะณะ, ท่านทั้งหลายจงพยายามตัดตัณหาอันเป็นดังกระแสน้ำ, จงบรรเทากามทั้งหลายเสียเถิด, นัปปะหายะ มุนิ กาเม เนกัตตะมุปะปัชชะติ, มุนีละกามทั้งหลายไม่ได้แล้ว ย่อมเป็นอยู่ผู้เดียวไม่ได้, กะยิรา เจ กะยิราเถนัง ทัฬหะเมนัง ปะรักกะเม, ถ้าบุคคลจะทำอะไรก็ทำเถิด แต่จงทำกิจนั้นให้จริงๆ, สิถิโล หิ ปะริพพาโช ภิยโย อากิระเต ระชัง, เพราะว่าการบวชที่ย่อหย่อนย่อมไม่เกิดผล, ยิ่งโปรยโทษดุจธุลี, อะกะตัง ทุกกะฏัง เสยโย ปัจฉา ตัปปะติ ทุกกะฏัง, ความชั่วไม่ทำเสียเลยดีกว่า เพราะว่าความชั่วทำให้เดือดร้อนในภายหลัง, กะตัญจะ สุกะตัง เสยโย ยัง กัต๎วา นานุตัปปะติ, บุคคลควรทำแต่ความดี เพราะทำแล้วไม่เดือดร้อนในภายหลัง, กุโส ยะถา ทุคคะหิโต หัตถะเมวานุกันตะติ, หญ้าคาที่บุคคลจะถอนแล้ว จับไม่ดี, ย่อมบาดมือผู้จับ ฉันใด, สามัญญัง ทุปปะรามัฏฐัง นิระยายูปะกัฑฒะติ, การบวชถ้าปฏิบัติไม่ดีและย่อหย่อน ย่อมถูกฉุดไปนรกได้ ฉันนั้น, ยังกิญจิ สิถิลัง กัมมัง สังกิลิฏฐัญจะ ยัง วะตัง, การงานสิ่งใดที่ย่อหย่อน และการปฏิบัติใดที่เศร้าหมอง, สังกัสสะรัง พ๎รัห๎มะจะริยัง นะ ตัง โหติ มะหัปผะลันติ, การประพฤติพรหมจรรย์ของผู้ใด ที่ระลึกขึ้นมาแล้วรังเกียจตนเอง, การกระทำเหล่านั้นย่อมเป็นของไม่มีผลมาก ดังนี้. ......................................................(ตายนสูตร ๑๕/๗๐) .สังเวคอิธชีวิตคาถา .... (หันทะ มะยัง สังเวคะอิธะชีวิตะคาถาโย ภะณามะ เส) อัปปะมายุ มะนุสสานัง หิเฬยยะ นัง สุโปริโส, อายุของหมู่มนุษย์นี้น้อยนัก ผู้ใคร่คุณงามความดี พึงดูหมิ่นอายุที่น้อยนิดนี้, จะเรยยะ ทิตตะสีโสวะ นัตถิ มัจจุสสะ นาคะโย, พึงรีบประพฤติตนให้เหมือนคนถูกไฟไหม้บนศีรษะเถิด, เพราะความตายจะไม่มาถึงเรานั้นไม่มี, อัจจะยันติ อะโหรัตตา ชีวิตัง อุปะรุชฌะติ, วันคืนก็ล่วงเลยไป ชีวิตก็ใกล้สู่ความตาย, อายุ ขียะติ มัจจานัง กุนนะทีนัง วา อุทะกันติ, อายุของสัตว์ทั้งหลายย่อมสิ้นไป, เหมือนน้ำในแม่น้ำน้อย, ไหลบ่อยๆ ย่อมหมดสิ้นไป, นะ เหวะ ติฏฐัง นาสีนัง นะ สะยานัง นะ ปัตถะคุง, อายุสังขารจะหยุดรอคอยเพื่อมนุษย์ทั้งหลาย, ที่ยืนเดินนั่งนอนอยู่ก็หาไม่, ตัส๎มา อิธะ ชีวิตะเสเส, เพราะเหตุนั้นแล ชีวิตที่ยังเหลืออยู่นี้, กิจจะกะโร สิยา นะโร นะ จะ มัชเชติ, พึงรีบกระทำความดีตามหน้าที่ของตน, อย่าได้ประมาทเลย, อิติ,.....ด้วยประการฉะนี้แล. |
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น